19 ม.ค. 2558

Worketa วิชาการ JM4 : เรขาคณิตเคลื่อนที่ได้!

สวัสดีครับผู้อ่านทุกท่าน ขออภัยในความล่าช้าของโพสต์ครับเนื่องจากผู้เขียนเที่ยวเพลินไปหน่อย... เดี๋ยวปลายเดือนอาจจะนำมาลงให้ชมกันครับ
ครับ ก่อนอื่นก็ยังคงต้องมีเรื่องแก้ตัวกันเล็กน้อยเนื่องจากโพสต์ JM3 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2557 โจทย์ข้อที่ 2 ไม่สมบูรณ์ครับ ซึ่งเราเพิ่งแก้ไขครับ ทั้งนี้ตามตาราง เราก็จะขอเฉลยในวันนี้ครับ
   จากโพสต์ JM3 ที่เป็นข้อสอบของญี่ปุ่น คงจะได้ลองทำกันแล้วนะครับ ไม่ยากอย่างที่คิดเลยสำหรับข้อที่ 0 และข้อที่ 1 โดยประเด็นของมันที่น่าสนใจคือข้อที่ 0 จะต้องใช้สูตรแยกตัวประกอบ เท่าที่ผมหาได้ ข้อสอบญี่ปุ่นไม่ค่อยปราณีกับนักเรียนในเรื่องของตัวเลข อาจจะเจอติดรูทประหลาดๆ ก็ไม่แคร์ เพราะเขาเน้นว่าเราทำเป็นหรือเปล่า ไม่ค่อยมีศิลปะในด้านคำตอบเท่าไหร่ (มั๊ง?) ต้องนั่งถึกครับในการทำโจทย์ญี่ปุ่นบางข้อ (ซึ่งมันทำให้ผมหมดความมั่นใจบางทีที่ทำออกมาแล้วตัวเลขแปลกๆ )
 


เฉลยสำหรับโจทย์เมื่อครั้งที่แล้วครับ (แก้ไขโจทย์แล้ว)
ขออภัยเรื่องลายมือไม่สวยครับ กำลังพัฒนาการเขียนด้วย stylus อยู่ครับ
-------
สำหรับโจทย์ในครั้งนี้ จะเกี่ยวกับเรื่องของเรขาคณิตที่สามารถเคลื่อนไหวได้ครับ ...นี่มันเรขาคณิตหรือฟิสิกส์เนี่ย...






















โจทย์ข้อที่ 3 4 เป็นข้อสอบที่ผ่านดัดแปลงกันมาเล็กน้อยครับ โดยเฉพาะข้อ 4 เป็นโจทย์แต่งที่ดัดแปลงให้คล้ายๆ โจทย์จริงมากที่สุด ...ลองดูครับ ไม่รับประกันว่าเลขออกมาจะต้องสวยเสมอไปครับ

WORKETA STUDiO
worketadirect@gmail.com

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น